ประเภท ของ กฎหมาย

กฎหมายสารบัญญัติ คือกฎหมายที่บัญญัติถึงสิทธิและหน้าที่ของบุคคลกำหนดข้อบังคับความประพฤติของบุคคลทั้งในทางแพ่งและในทางอาญาโดยเฉพาะในทางอาญา คือประมวลกฎหมายอาญาจะ บัญญัติ ลักษณะการกระทำอย่างใดเป็นความผิดระบุองค์ประกอบความผิดและกำหนดโทษไว้ว่าจะต้องรับโทษอย่างไรและในทางแพ่ง คือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จะกำหนดสาระสำคัญของบท บัญญัติว่าด้วยนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในฐานะต่าง ๆ ตามกฎหมาย เช่น นิติกรรม หนี้ สัญญา เอกเทศสัญญา เป็นต้น 2.

  1. ประเภทของกฎหมายเอกชน
  2. ประเภทของกฎหมายมีอะไรบ้าง
  3. ประเภทของกฎหมาย - popkanyalak
  4. ประเภท ของกฎหมาย
  5. ประเภทของกฎหมาย แบ่งตามลักษณะการใช้
  6. ประเภทของกฎหมายมหาชน

ประเภทของกฎหมายเอกชน

กฎหมายเอกชน กฎหมายเอกชน เป็นกฎหมายที่ว่าด้วย สิทธิหน้าที่และความสัมพันระหว่างเอกชน การอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นอาจมีความสัมพันธ์กันในทางกฎหมายในด้านต่างๆ เช่นการกู้ยืมเงินกัน การซื้อขายสินค้ากันการรับจ้างขนส่ง หรือความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว เช่นสามีภรรยา บิดามารดากับบุตร มรดก เหล่านี้เป็นเรื่องที่บุคคลมีความสัมพันธ์หรือผูกพันต่อกันโดยไม่กระทบกระเทือนต่อสังคมส่วนรวม กฎหมายที่ออกมาใช้บังคับในเรื่องเหล่านี้จะมีลักษณะมีความสัมพันธ์ส่วนบุคคล การออกกฎหมายมาใช้บังคับ จึงมีลักษณะเป็นเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกฎหมายประเภทนี้ เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เป็นต้น 2. กฎหมายมหาชน กฎหมาย เป็นกฎหมายที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชน โดยที่รัฐมีอำนาจหน้าที่ในการบริหารประเทศ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีกฎหมายออกมาใช้บังคับกับประชาชนในประเทศ กฎหมายประเภทนี้ เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง ประมวลกฎหมายอาญา และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3.

ประเภทของกฎหมายมีอะไรบ้าง

ประเภทของกฎหมาย แบ่งตาม ลําดับศักดิ์

ประเภทของกฎหมาย - popkanyalak

  • [Review] Tenya เทนยะ ร้านเทมปุระอันดับหนึ่งจากญี่ปุ่น สูตรลับตำรับโตเกียว
  • สวิตซ์ไฟ ควบคุมการเปิดปิดกระแสไฟฟ้า | MISUMI Thailand
  • Intel nuc8i7hvk ราคา
  • Milo cube ราคา 3d
  • ศักดิ์ของกฎหมาย | lawtoknow
  • ประเภทของกฎหมาย แบ่งตามลักษณะการใช้
  • ประเภทของกฎหมาย | Hning
  • ขาย logitech c922 remote

ประเภท ของกฎหมาย

ประเภทของกฎหมาย แบ่งตามลักษณะการใช้

ประเภทของกฎหมาย การแบ่งแยกประเภทกฎหมายที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 ประเภท คือ 1.

ประเภทของกฎหมายมหาชน

ประเภทของกฎหมาย การแบ่งประเภทของกฎหมาย อาจแบ่งได้หลายลักษณะ ขึ้นอยู่กับผู้แบ่งว่าจะใช้อะไรเป็นหลัก แต่โดยทั่วไปแล้วเราจะแบ่งอย่างคร่าว ๆ ก่อนโดยแบ่งกฎหมายออกเป็นสองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ กฎหมายภายใน ซึ่งเป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นใช้โดยองค์กรที่มีอำนาจภายในรัฐหรือประเทศ และกฎหมายภายนอก ซึ่งเป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นจากสนธิสัญญา หรือข้อตกลงระหว่างประเทศ กฎหมายภายใน และกฎหมายภายนอก ยังอาจแบ่งย่อยได้อีกหลายลักษณะ ตามหลักเกณฑ์ที่แตกต่างกัน ดังนี้ กฎหมายภายใน แบ่งได้หลายลักษณะตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ 1. ใช้เนื้อหาของกฎหมายเป็นหลักเกณฑ์การแบ่ง แบ่งกฎหมายออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. 1 กฎหมายลายลักษณ์อักษร ได้แก่ ตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่บัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร โดยองค์กรที่มีอำนาจตามกระบวนการนิติบัญญัติ เช่น รัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติต่าง ๆ ฯลฯ เป็นต้น 1. 2 กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ จารีตประเพณีต่าง ๆ ที่นำมาเป็นหลักในการพิจารณาตัดสินคดีความ ดังได้กล่าวมาแล้วในเรื่องที่มาของกฎหมาย ซึ่งในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของไทยก็มีบทบัญญัติไว้ในมาตรา 4 วรรค 2 ว่า "เมื่อไม่มีบทกฎหมายใดที่จะยกมาปรับแก้คดีได้ ท่านให้วินิจฉัยคดีนั้นตามคลองจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น" 2.

ประเภทของกฎหมาย แบ่งตามลักษณะการใช้

การแบ่งประเภทของกฎหมาย ก ฎหมายมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับว่าผู้ที่ศึกษาจะแบ่งตามลักษณะสิ่งใด อาจแบ่ งตามที่มาของกฎหมาย แบ่งตามลักษณะการใช้ หรือแบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน ประเภทของกฎหมาย ที่จะศึกษาแบ่งได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ประเภทแบ่งตามระบบหรือที่มาของกฎหมาย 2. ประเภทแบ่งตามลักษณะการใช้กฎหมาย 3. ประเภทแบ่งตามบทบัญญัติในกฎหมายที่มีความสัมพันธ์กับประชาชน ประเภทแบ่งตามระบบหรือที่มาของกฎหมาย ที่มาของกฎหมายมี 2 ระบบ คือระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร และระบบไม่เป็นลายลักษณ์อักษรหรือเรียกอีกอย่างว่า ระบบจารีตประเพณี 1. ระบบลายลักษณ์อักษร ( CivillawSystem)ประเทศไทยใช้ระบบนี้เป็นหลัก กระบวนการจัดทำกฎหมายมีขั้นตอนที่เป็นระบบมีการจดบันทึกมีการกลั่นกรองของฝ่ายนิติบัญญัติคือ รัฐสภามีการจัด หมวดหมู่กฎหมายของตัวบทและแยกเป็นมาตรา เมื่อผ่านการกลั่นกรองจากรัฐสภาแล้ว จะประกาศใช้เป็นกฎหมายโดยราชกิจจานุเบกษากฎหมายลายลักษณ์อักษรนี้ได้แก่กฎหมายรัฐธรรมนูญพระราชบัญญัติ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกากฎกระทรวง 2. ระบบไม่เป็นลายลักษณ์อักษรหรือจารีตประเพณี ( CommonLawSystem) เป็นกฎหมาย ที่มิได้มีการจัดทำเป็นลายลักษณ์อักษรไม่มีการจัดเป็นหมวดหมู่และไม่มีมาตรา หากแต่เป็นบันทึกความจำตามขนบธรรมเนียมประเพณีที่ใช้กันต่อๆมาตั้งแต่บรรพบุรุษรวมทั้งบันทึกคำพิพากษาของศาลที่พิพากษาคดีมาแต่ดั้งเดิมประเทศที่ใช้กฎหมายจารีตประเพณี หรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษรได้แก่ประเทศอังกฤษและประเทศทั้งหลาย ในเครือจักรภพของอังกฤษ ประเภทแบ่งตามลักษณะการใช้กฎหมาย การแบ่งประเภทกฎหมายตามลักษณะการใช้กฎหมายต้องคำนึงถึงบทบาทและหน้าที่การนำเอากฎหมายไปใช้เป็นหลัก ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ กฎหมายสารบัญญัติและกฎหมายวิธีสบัญญัติ 1.

Sat, 25 Jun 2022 03:40:31 +0000