ลาย กระจัง ปฏิญาณ

วาดลายกระจังปฏิญาณเบื้องต้น | By KruPramoth - YouTube

  1. วาดลายกระจังปฏิญาณเบื้องต้น | By KruPramoth - YouTube
  2. Bloggang.com : : ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก : พระพุทธบาทสระบุรี

วาดลายกระจังปฏิญาณเบื้องต้น | By KruPramoth - YouTube

ให้ใส่สบาย และไม่อึดอัด ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ! ผู้หญิงกว่า 80% มักเลือกใส่บราผิดไซซ์ คนส่วนใหญ่จะใส่บราที่มีขนาดเล็กเกินไป 1 ชั่วโมงที่แล้ว • ธุรกิจ อีลอน มัสก์ ปฏิเสธ นั่งเป็นกรรมการบริษัท หลัง Twitter แต่งตั้งสัปดาห์ที่แล้ว เมื่อไม่นานมานี้ อีลอน มัสก์ ได้เข้าซื้อหุ้น Twitter คิดเป็นสัดส่วน 9. 2% ของจำนวนหุ้นทั้งหมด ด้วยมูลค่า 2, 640 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 88, 800 ล้านบาท) และขึ้นเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่สุดของ Twitter 4 ชั่วโมงที่แล้ว • โควิด-19 สรุปสถานการณ์โควิด-19 ทำไม "จีน" ยังใช้นโยบาย "โควิดเป็นศูนย์"? เมื่อพูดถึง สถานการณ์โควิด-19 ใน "จีน" ช่วงนี้ หากเราถามคนจีนหรือดูตามสื่อจีน เราจะได้รับคำตอบว่า "รุนแรงมาก" จนมีการล็อกดาวน์มหานครเซี่ยงไฮ้ เมืองที่เป็นศูนย์กลางการค้าและเศรษฐกิจที่มีความสำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งของจีน ดูทั้งหมด

*** หัวเม็ดยอดเสาแกะสลักจากหินสบู่ ประดับพระมณฑปพระพุทธบาทสระบุรี ได้รับการซ่อมแซมใหม่ในช่วงยุคปัจจุบันจนสมบูรณ์ เป็นหัวเม็ดยอดเสาพระระเบียงที่จัดได้ว่ามีความงดงามที่สุดของประเทศไทยเลยครับ เครดิต FB วรณัย พงศาชลากร EJeab Academy Create Date: 08 กุมภาพันธ์ 2565 Last Update: 8 กุมภาพันธ์ 2565 12:34:39 น. 1 comments Counter: 138 Pageviews. ขอบคุณที่แบ่งปัน ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก ททมาโน ปิโย โหติ ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก A giver is always beloved. MY VIP Friend

  • เตา induction teka dw6
  • โต๊ะ เครื่อง แป้ง ถูก ๆ
  • บรรเทา อาการ ริดสีดวง หายเองได้ไหม
  • "พญาไก่ชน" เดือยคมกริบ
  • หมวก bucket converse
  • หวยเด็ด หวยเสือตกถังพลังเงินดี งวด 02/05/65 | หวยเด็ด แม่ทำเนียนล็อตเตอรี่.. | หวยเด็ด หวยม้านำโชค.. - YouTube
  • ห้อง นอน สกปรก
  • Zoom whitening ราคา product
  • หอพัก punch & pie menu

มีบัญชีอยู่แล้ว? 29 พ. ค.

*** พระปรางค์ยอมุม 28 ฐานประดับขาสิงห์สูง 3 ชั้น ตัวเรือนธาตุชะลูด มุขจระนำแคบ แต่ยังไม่ลดขนาด (จึงยังยังไม่เกิดทรงจอมแห) และเริ่มมีการ "บีบสันมุมที่ซ้อนกันด้านละ 7 มุม ให้มีขนาดเท่ากับขนาดของมุขแต่ละด้าน ในผัง 8 เหลี่ยม" อาจเกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ที่วัดอุทิศขนาดเล็ก ภายในวัดมหาธาตุนอกกำแพงแก้วทางทิศเหนือครับ. พระปรางค์ยอมุม 28 สมัยสมเด็จสมเด็จพระนารายณ์ คือ พระปรางค์เหล็กหล่อที่ตั้งอยู่บนยอดสุดของเจดีย์ทรงหอคอย มุมตะวันออกเฉียงใต้นอกกำแพงแก้ว วัดมหาธาตุ มีฐานสิงห์แบบไม่มีกาบเล็บที่ฐานล่าง ประดับลายใบไม้แบบตะวันตก ยอดเหล็กเดิมคงได้ถูกฟ้าผ่าจนแตกเสียหายจึงต้องปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ด้วยปูนปั้นในสมัยหลัง ซึ่งต่อมาก็คงถูกฟ้าฝ่าซ้ำจนปูนที่ปั้นซ่อมแตกหักเสียหายอีก. *** พระปรางค์แบบยอมุม 28 ฐานปัทม์ใหญ่ลดหลั่นขนาด ประดับขาสิงห์สูง 3 ชั้น ตัวเรือนธาตุชะลูด มุขจระนำแคบ บีบสันย่อมุมเท่ากับผนังมุขจนกลายเป็นผัง 8 เหลี่ยม เริ่มลดขนาดเรือนธาตุทรงชะลูดสูงให้แคบลง จนเกิดเป็นพระปรางค์ทรงจอมแห (ทำยอดปรางค์บีบให้เล็กแบบเจดีย์ยอดแหลม) องค์แรก น่าจะเป็นพระปรางค์วัดบรมพุทธราม ที่สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระเพทราชา.

Bloggang.com : : ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก : พระพุทธบาทสระบุรี

*** มีคำอธิบายว่า เดิมทีหัวเม็ด/หัวเสาระเบียงแกะสลักจากหินสบู่นี้เคยอยู่ที่วัดไชยวัฒนาราม ที่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าปราสาททอง ดังที่พบเสมาทรงซุ้มที่แกะสลักเป็นช่องเพื่อวางฝาง/ตะคันพระประทีป บนสันกำแพงแก้วล้อมรอบลานประทักษิณของฐานไพทีองค์พระปรางค์ประธาน อดีตเจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทได้ไปขนย้ายมาประดับกำแพงแก้วล้อมพระมณฑป ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 6-7. *** แต่จากภาพวาดลายเส้นของ อ็องรี มูโอ ในปี พ. 2404 (รัชกาลที่ 4) และภาพถ่ายเก่าประมาณ ปี พ. 2447 (รัชกาลที่ 5) และภาพถ่ายฝีพระหัตถ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ. 2449 (สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ) ได้แสดงให้เห็นว่า ในสมัยรัชกาลที่ 4 ชั้นต่าง ๆ ของพระมณฑปได้สร้างเสร็จสมบูรณ์มาก่อนห้าแล้ว และก่อนหน้าจะมีการบูรณะส่วนเรือนยอดมณฑปครั้งใหญ่ในช่วงปลายรัชกาลที่ 5 นั้น มีหัวเม็ดทรงปรางค์และเจดีย์เหล่านี้ประดับมาอยู่แล้ว. หัวเม็ด/ยอดเสา แกะสลักจากหินสบู่ของพระมณฑปพระพุทธบาทจึงควรถูกแกะสลักขึ้นเพื่อประดับระเบียงของพระพุทธบาทโดยตรงในช่วงสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ดังรูปศิลปะของกระจังปฏิญาณประดับมุมยกของหัวเม็ด หน้าบันลายกระหนกใบขด ลำยองตวัดไอยราโค้งที่มีกระจัง 3 ตัวเรียงด้านล่าง และรูปแบบสถาปัตยกรรมนิยมอย่างแข้งสิงห์ฐานประทักษิณบนและการเจาะช่องกำแพงรูปซุ้มยอดสอบแหลมเพื่อประดับฝางประทีป ที่ล้วนเป็นศิลปะในพระราชนิยมในช่วงเวลานี้.

พุทธปรางค์แบบยอมุม 28 แบบสมเด็จพระเพทราชา ยังปรากฏที่วัดพระยาแมน ที่ทรงโปรดให้สร้างถวายพระศรีสัจญานมุนีราชาคณะคามวาสี ที่ถวายพยากรณ์ว่าพระองค์จะได้เสวยราชย์สมบัติ และยังนิยมสืบต่อมาในสมัยสมเด็จพระเจ้าเสือ ดังปรากฏที่วัดโพธิ์ประทับช้าง แขวงเมืองพิจิตร ภูมิสถานที่ประสูติของพระองค์ครับ. ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ พุทธปรางค์ฐานสิงห์ได้เปลี่ยนมานิยมทำเป็นยอมุม 20 (ด้านละ 5 สันมุม โดยลดมุมของมุขซ้อนออก ฝั่งละ 1 มุม เอาหน้าบันขึ้นไปซ้อนด้านบน) เรือนธาตุชะลูดสูงขึ้นกว่าเดิมบนฐานสิงห์ที่ลดหลั่นขนาดจนเป็นทรงจอมแหอย่างสมบูรณ์แบบ ดัง พระปรางค์คู่วัดสระบัว เมืองเพชรบุรี ประดับปูนปั้นที่งดงาม (วัดไผ่ล้อมในตัวเมือง ที่มีการบูรณะในสมัยพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระก็น่าจะเคยมีปรางค์ทรงเดียวกันแต่ถูกรุกที่ดินด้านหน้าจนหายไป) พระปรางค์วัดมงกุฎ (ร้าง/ทางเหนือของเกาะเมือง) พระปรางค์รายคู่ด้านหน้าวัดโลกยสุธา พระปรางค์คู่วัดป่าโมก และพระปรางค์เล็ก ริมถนนข้างวัดมหาธาตุ (วัดจันทร์? ). *** ความนิยมในพุทธปรางค์ทรงจอมแหฐานสิงห์ ลดหายไปช่วงระยะหนึ่งในสมัยพระเจ้าอยู่บรมโกศ จนถึงช่วงเสียกรุงศรีอยุธยาในปี พ. ศ. 2310 จนได้รับความนิยมกลับมาอีกครั้งในราชสำนักรัตนโกสินทร์ ที่มีการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมพุทธปรางค์แบบอยุธยาปลายต่อเนื่องมาอีกมากมายครับ เครดิต: FB วรณัย พงศาชลากร EJeab Academy Create Date: 30 ตุลาคม 2564 0 comments Last Update: 30 ตุลาคม 2564 20:20:40 น.

เจดีย์ทรงปราสาทหรือพระปรางค์วัดไชยวัฒนาราม มีการยกฐานปัทม์ท้องไม้กว้างคาดแถบลูกฟักและอกไก่ ขึ้นไป 3 ชั้น จนสูงชะลด ทั้งมีการเพิ่มมุม/ยกมุมของส่วนฐานสูงให้สอดรับกับการเพิ่มมุมของเรือนธาตุและมุขซุ้มประตูซ้อน จนทำให้เกิดสันมุมที่เรียกว่า "ย่อมุมไม้" จำนวนมากขึ้นกว่าเดิม ซึ่งฐานที่มีมุมเพิ่มขึ้นก็เริ่มถูกนำไปใช้กับฐานพระเจดีย์ทรงระฆังย่อมุม 12 แบบเดิมเป็นครั้งแรกครับ. อีกทั้งการประดับฐานพระเจดีย์ด้วย "ขาสิงห์" แบบต้นอยุทธยายังกลับมาได้รับความนิยมจากราชสำนักอีกครั้ง โดยมีการปรับรูปให้ยืดสูง หลังสิงห์วงโค้งต่อเนื่องมาที่แข้งสิงห์ ท้องสิงห์หย่อนโค้ง หัวแข้งมีทั้งแบบมนโค้งและแบบสันคม/บัวหลังสิงห์ ปั้นปูนกระหนกตัวเหงา/บัวรวนเป็นครีบประดับใต้น่อง นมสิงห์เป็นกระหนกรูปกระจังคว่ำ เกิดการประดิษฐ์ลาย "กาบเท้าสิงห์/เล็บกาบสิงห์" รูปกระจังปฏิญาณสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ พวยขึ้นมาที่เชิงของหัวแข้ง นำมาประดับเข้ากับสันมุมที่มีจำนวนมากขึ้น. เมื่อมีการนำฐานยกมุมเพิ่มซ้อนกันจำนวนมากจากพระปรางค์ใหญ่ย่อลงมาที่ปรางค์ขนาดเล็กลง จึงได้เกิดการย่อมุม 28 ขึ้น โดยนำมุมจากเรือนธาตุ 3 มุม (มุมหลักและมุมยกเก็จ) มารวมกับมุมของมุขซ้อน 2 ด้าน ๆ ละ 2 มุม รวมเป็น 7 สันมุมในด้านเดียว (คูณด้วย 4 ด้าน) ขึ้นเป็นครั้งแรก ที่ปรางค์บริวารของวัดไชยวัฒนาราม แต่ในช่วงแรกนั้น มุมหลักยังมีขนาดใหญ่กว่ามุมประกอบ ตัวปราสาทก็ยังมีขนาดใหญ่ ช่องจระนำกว้าง ตั้งบนฐานปัทม์ลูกแก้วอกไก่ซ้อนชั้น จึงยังไม่เกิดทรง "จอมแห" และยังไม่มีการประดับ "ขาสิงห์" ที่ฐานครับ.

ศ. 2522. พระเทวาภินิมมิต สมุดตำราลายไทย โรงพิมพ์คุรุสภา พ. 2530. ISBN 974-0038-44-1 สันติ เล็กสุขุม กระหนกในดินแดนไทย สำนักพิมพ์มติชน พ. 2539. ISBN 974-7120-30-5 แหล่งข้อมูลอื่น [ แก้] พุทธศิลปะสถาปัตยกรรม ภาคต้น โดย พระพรหมพิจิตร จิตรธานี Archived 2007-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

ลายกระจัง โครงสร้างของลายอยู่ในสามเหลี่ยมด้านเท่า มีลักษณะคล้ายกลีบของดอกบัวหรือตาอ้อย ด้านข้างจะแยกปลายแหลมเหมือนถูกบาก ลายนี้จะใช้ประดับตามขอบ เช่น ขอบของธรรมสาสน์ หรือขอบบนของลายหน้ากระดาน ลายกระจังจะมีอยู่หลายรูปแบบเช่น กระจังรวน กระจังปฏิญาณ กระจังใบเทศ กระจังหลังสิงห์ กระจังหู เป็นต้น ภาพลายกระจัง (แสดงโครงสร้างขั้นต้นและขั้นตอนการเขียนลาย และรูปแบบต่าง ๆ)

Sat, 25 Jun 2022 02:10:45 +0000